คำตอบที่ 4
-ขออนุญาตอธิบายคำที่อ้างไว้ในคต.ก่อนอีกครั้งครับ...
- H คือ เอช(ออกเสียง เอ้ดชุ)
- S คือ เอส(ออกเสียง เอ้ดส)
- HS หมายถึงกระเทศไทย เป็นอักษรย่อใช้ในสากลหรือทั่วโลก เพื่อให้รู้สังกัดเช่น เครื่องบินที่มีอักษร HS นำหน้าคือเครื่องบินจากไทย ซึ่งผู้ที่ออกเสียง HS มากที่สุดในโลกคือนักวิทยุสมัครเล่นไทยครับ..
- การขานนามเรียกขานที่ขึ้นต้นด้วย HS แบบย่อโดยคนไทย มีใช้ออกหลายเสียงหลายแบบคือ....HS=เอ้ดเช็ด , HS=เอ้ดเซ็ท , HS=เอ้ดเอส , HS=เฮชเอส .......
-การออกเสียงที่ถูกจริงคือ HS= เอ้ดชุเอ้ดส ซึ่งออกเสียงยากจนเหมือนจะทำไม่ได้ในการใช้แบบทั่วไปคือต่อเนื่อง+เสียงอักษรต่อท้ายด้วยความเร็วปกติ ถ้าไม่เว้นวรรคจะออกเสียง HS ต่อกันให้ถูกต้องไม่ได้ครับ..
-หากเป็นหมากกลของคำพอดีก็ไม่แปลก(คำไทยก็มี) เวลาคนไทยให้ฝรั่งออกเสียง ระนองระยองยะลา คนที่เห็นฝรั่งพูดติดกันไม่เว้นวรรคเพี้ยนหรือไม่ได้ จะขำครับ......
-ดังนั้นไทยที่พูดทั้ง 4 แบบ เอ้ดเช็ด,เอ้ดเซ็ท,เอ้ดเอส,เฮชเอส ก็อาจถูกฝรั่งที่ฟังไทยออกเสียงแล้วขำได้เหมือนกันครับ..
-ลองทำเป็นผลให้ดูครับ..
-HS = เอ้ดเช็ด = เอ้ด(เพี้ยน)เช็ด(ผิด) = เพี้ยน+ผิด
-HS = เอ้ดเซ็ท = เอ้ด(เพี้ยน)เซ็ท(ผิด)= เพี้ยน+ผิด
-HS = เอ้ดเอส = เอ้ด(เพี้ยน)เอส(ถูก) = เพี้ยน+ถูก
-HS = เฮชเอส = เฮช(ผิด)เอส(ถูก) = ผิด+ถูก
-ทำผลให้ดูเพื่อบอกว่าแบบที่ 3 (เพี้ยน+ถูก)ใกล้เคียงจริงกว่าอีก3แบบ แต่นักวิทยุสมัครเล่นไทย ใช้เสียงแบบที่ 3 นี้น้อยที่สุด มากที่สุดคือ 1 รองลงมาคือ 2 / 4 /และ 3 การเรียนรู้ของไทยจึงเหมือนเส้นคดโค้งไม่ตรง...เพลง"มันแปลกดีนะ"ของเรวัต พุทธินันทน์ ตอนหนึ่งเนื้อร้องว่า "คนนำมีแค่สองสาม แต่คนตามบานตะไท ถ้าเขามั่วเราจะรู้ได้ไง" คือสิ่งที่ผมคิดเองว่า"แม่น"....
-ไทยคุ้นเคยกับคำ"ดิฉัน"ว่าเป็นสรรพนามผู้หญิง แต่หากใช้คำว่า"เดอะฉัน"(ดิ=เดอะ) อาจมองเป็นฉายาหรือเน้นว่าสำคัญหรือยิ่งใหญ่ หมายถึงมองเป็นคำยกย่องหรือล้อเลียนได้ทั้ง 2 แบบ... แต่อย่างไรก็ไม่มีเสียงเพี้ยนให้ขำ และก็เป็นคำสุภาพครับ...
-สรุปหากใครออกเสียง HS = เอ้ดชุเอ้ดส ได้ก็น่าภูมิใจ เพราะยากมาก..แต่ไม่ใช่ทั้ง 4 แบบเสียงที่ใช้กัน แต่ฟังดูตลกดี ที่คิดว่าถูกครับ...
- HS ที่ใช้ในกลุ่มนักวิทยุสมัครเล่น จึงควรไปทำความเข้าใจใหม่ เพื่อไม่ชี้เหวให้คนรุ่นต่อไปครับ...
แก้ไขเมื่อ : 20/11/2562 20:16:50